Last updated: 1 มิ.ย. 2564 | 5065 จำนวนผู้เข้าชม |
คนส่วนใหญ่รู้จักเครื่องปรับอากาศ... แต่กลับไม่ค่อยมีใครรู้จักส่วนประกอบที่สำคัญอย่างมากมายในแอร์ที่ถูกเรียกว่า คอยล์เย็น หรือ ตัวเครื่องปรับอากาศที่อยู่ภายในห้อง ที่ทำหน้าที่ในการดูดเอาลมร้อนออกไปจากห้อง จากนั้นก็ทำการส่งความเย็นที่มาจากสารทำความเย็นจากคอยล์ร้อนที่อยู่ด้านนอกของบ้านเข้ามาเพื่อช่วยทำให้ภายในห้องเย็นสบายมากขึ้น แต่เมื่อไหร่ก็ตามที่เจ้าคอยล์เย็นไม่ทำงานขึ้นมาก็จะทำให้ห้องร้อนอบอ้าว จนต้องเรียกช่างมาซ่อม หรือหากอาการหนักก็ต้องเปลี่ยนคอยล์เย็น
การเปลี่ยนคอยล์เย็นเราแนะนำนะครับสำหรับแอร์ที่ใช้งานหนักหรือใช้งานมามากกว่า 3-5 ปีส่วนประกอบเริ่มชำรุดเสียหาย แต่ละตัวซ่อมเสียเงินหลายบาท ซ่อมไม่จบ Fin Coil เริ่มมีการพุกร่อนหรือล้ม ทำลมไม่ดีเย็นช้ากินไฟมากประสิทธิภาพเริ่มต่ำ มีหลายยี่ห้อให้เลือกเราจะเลือกแบบไหนคุ้มค่าหรือไม่เทคนิคการเลือกอย่างไรจะเลือกใช้ยี่ห้ออะไรดี คุณกำลังมีข้อสงสัยใช่ไหมครับ เราไปฟังกันครับ
1. คอยล์เย็น Mono Cool (โมโนคูล) ที่รับประกันสินค้ามากถึง 2 ปี รับประกันอิเล็กทรอนิกส์ 2 ปีแผงคอยล์ 1 ปี
2. ท่อหลังแอร์ยี่ห้อ โมโนคูล ออกแบบระยะยาวเป็นพิเศษเพื่อลดการเชื่อมต่อ ทำให้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ต่อการติดตั้ง ช่างไม่ต้องไปตัดต่อหรือเชื่ิอมให้เสีเวลา สามารถขันแฟร์เข้าได้เลย ข้อนี้ผมเห็นสำคัญมากเพราะการเชื่อมต่อจะทำให้เกิดสิ่งสกปรกภายในระบบ
3. มีอะไหล่รองรับทุกชิ้นส่วน ถ้าเราใช้ไปซักระยะประกันสินค้าหมดแล้วอะไหล่คอยล์เย็นเริ่มมีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานหรือเริ่มเสียสามารถหาซื้อมาใส่ทดแทนตัวเก่าได้เลย
4. มีการับรองจากบริษัทหรือที่อยู่ของบริษัทที่แน่ชัด มีบริการหลังการขาย และมีอะไหล่ครบ
บริการหลังการขายที่ดีที่สุด ไม่ว่าจะอยู่ในประกันหรือหมดประกันแล้ว โมโนคูลยังพร้อมดูแลลูกค้าเสมอและตลอดไป ทั้งเรื่องอะไหล่สำรองและบริการเป็นที่น่าเชื่อถือไม่ต้องกลัว เวลาสินค้ามีปัญหาสามารถเปลี่ยนเคลมสินค้าได้เลยทันที
5. แผงคอยล์เย็นแอร์เป็นแบบ ซึ่งมีสารสีฟ้าบนครีบคอยล์เย็นแอร์ เพื่อยืดอายุการใช้งานป้องกันความชื้น การกัดกร่อนจากน้ำและอากาศที่เป็นกรด ทำให้แผงคอยล์เย็นไม่ผุกร่อน
6. รีโมทคอยเย็น โมโนคูล มีปุ่ม Turbo หรือที่เรียกว่า (โหมดเทอร์โบ) โดยระบบจะปรับแรงลมที่ระรับสูงสุดโดยอัติโนมัติ ทำให้ ลมแรงขึ้น เย็นถึงใจยิ่งกว่าเดิม เป็นปุ่มที่เย็นเร็วทันใจ
7. หน้าจอโชว์อุณหภูมิ ตั้งเวลาเปิด - ปิดได้ 24 ชั่วโมง อันนี้ก็ดีครับเราจะได้ไม่สับสนและในขณะหลับ เราสามารถปิดเพื่อลดแสงที่จะมากวนเวลานอนของเราได้ครับ
19 ก.พ. 2567
18 มิ.ย. 2567
5 ก.ย. 2567
31 ส.ค. 2567